ผู้เข้าชม
0
10 กรกฎาคม 2567

๕. พระวิภาชวิทยาสิทธิ์ (สังข์ พุกกะเวส)  นอกไปจากเป็นธรรมการมณฑลจันทบุรี เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๔ ผู้ดำเนินการจัดหาที่ตั้งโรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดจันทบุรี หรือโรงเรียนประจำจังหวัดชาย ยังเป็นผู้ที่แต่งแบบหัดอ่านหนังสือไทย เล่มปลาย ชั้นประถมปีที่ ๑ เมื่อเป็นอำมาตย์โท พระวิภาชวิทยาสิทธิ์ (สังข์ พุกกะเวส) ที่แต่งขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๗๗, ดังนั้นจึงน่าจะเป็นบุคคลที่มีอายุร่วมสมัยกับหลวงสาครคชเขตต์ (ป.สาคริกานนท์)

๖. ระบำควนคราบุรี โดยกล่าวว่า ‘ควนคราบุรี’ เป็นชื่อเดิมของจังหวัดจันทบุรี วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรีได้ประดิษฐ์ขึ้น โดยศึกษาจากหนังสือประวัติศาสตร์เมืองจันทบุรีและรูปจำหลักศิลปสมัยขอม การแสดงเน้นให้เห็นถึงชาวควนคราบุรีซึ่งต่างฐานะกันมีทั้งชายและหญิง แต่งกายแบบสมัยขอม ทำนองเพลงมีสำเนียงเขมร และจังหวะของการละเล่นรำสวด ซึ่งเป็นการละเล่นพื้นเมืองของชาวจังหวัดจันทบุรี, งานเผยแพร่ฝ่ายศิลปวัฒนธรรม วิทยาลัยนาฎศิลปจันทบุรี. เอกสารอิเล็กทรอนิกส์, https://sites.google.com/site/phlngansrangsrrkh/fxn

๗. Etienne Aymonier. Le Cambodge Le groupe d'Angkor et l’histoire Vol.II, Paris, 1900-1904 , p.80, เอกสารอิเล็กทรอนิกส์, https://gallica.bnf.fr/ark:/12148/bpt6k841314?rk=42918;4 หนังสือชื่อกัมโพชนี้ ในชุดมีอยู่ ๓ เล่ม [Aymonier, Etienne, 1844-1929, Le Cambodge, Date de publication : 1900-1904, : 3 vol., in-8, Lieu de publication : Paris]  ที่นำไปอ้างอิงนั้นอยู่ในเล่มที่ ๒, เขียนเมื่อ ราว พ.ศ. ๒๔๔๔ โดยอ้างถึงบทความของบาทหลวงชมิดท์ตีพิมพ์ในหนังสือชื่อ le Siam ancien โดย M. Fournereau ที่กล่าวถึงชิ้นส่วนศิลาจารึกพบที่วัดกลางหรือบริเวณที่ตั้งของโรงเรียนเบญจมราชูทิศ จันทบุรี ในปัจจุบัน.

๘. หลวงสาครคชเขตต์ (ป.สาคริกานนท์). อ้างแล้ว, หน้า ๓๘๑.

๙. Etienne Aymonier. Le Cambodge Le groupe d'Angkor et l’histoire. Vol.III, p.738, เอกสารอิเล็กทรอนิกส์, https://gallica.bnf.fr/ark:/12148/bpt6k84132g.texteImage

๑๐. ชูศักดิ์ ทิพยเกษร, ประสาร บุญประคอง และเทิม มีเต็ม. จารึกบนเสาหินที่ตำบลพระบาทของพระเจ้ายโศธรวรมันที่ .. ๘๑๑, .. ๑๔๓๒. วารสารศิลปากร. ปีที่ ๒๒ เล่มที่ ๔ พฤศจิกายน ๒๕๒๑. เอกสารอิเล็กทรอนิกส์, http://digitalcenter.finearts.go.th/magazine-detail/843#.YYobkC8Rrf8

๑๑. R. C. Majumdar, No. 23 Vat Sabab Inscription of Īśāna-Varman. Inscriptions of Kambuja, เอกสารอิเล็กทรอนิกส์, The Asiatic Society. p. 28-29. เอกสารอิเล็กทรอนิกส์, https://archive.org/details/in.ernet.dli.2015.181497

๑๒. Lunet de Lajonquière, E. Rapport sommaire sur une mission archéologique au Cambodge, au Siam, dans la presqu'île malaise et dans l'Inde (1907-1908).  Bulletin de l'École française d'Extrême-Orient Année 1909, 9. p. 351-368. เอกสารอิเล็กทรอนิกส์, https://www.persee.fr/doc/befeo_0336-1519_1909_num_9_1_2362

๑๓. วลัยลักษณ์ ทรงศิริ. ข้อสังเกตการเดินทางของหมอบรัดเลย์สู่จันทบูรในสมัยรัชกาลที่ เมืองโบราณ ปีที่ ๔๔ ฉบับที่ ๒ (เมษายน-มิถุนายน ๒๕๖๑) และ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์,  https://suanleklek.wordpress.com/2018/06/08/chanthaboon-bradley/

๑๔. อุไรวรรณ รัตนวิระกุล. การศึกษาแหล่งโบราณคดี วัดทองทั่วและบริเวณใกล้เคียง ตำบลคลองนารายณ์ อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี, ปริญญานิพนธ์ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์, ๒๕๓๓. เอกสารอิเล็กทรอนิกส์, http://www.thapra.lib.su.ac.th/thesis/showthesis_th.asp?id=0000000056

๑๕. การพบจารึกที่เป็นชิ้นส่วนในบริเวณเมืองเพนียดน่าจะพบหลายชิ้น กรณีจารึกเมืองเพนียดหลักที่ ๕๒ นั้นยังไม่พบว่ามีการอ่านข้อความในจารึกหรือภาพของตัวจารึกเผยแพร่ แต่การมีอยู่นั้นอ้างจากเพจอย่างเป็นทางการของกรมศิลปากร กล่าวกันว่าน่าจะมีอายุรุ่นพุทธศตวรรษที่ ๑๕ ซึ่งเป็นช่วงเดียวกับจารึกเพนียด ๑ มีความน่าจะเป็นได้ว่าอาจจะเป็นจารึกชิ้นเดียวกันแต่พบชิ้นส่วนคนละช่วงเวลา อ้างใน จิราพร กิ่งทัพหลวง. โบราณสถานเมืองเพนียด จังหวัดจันทบุรี, กุมพาพันธ์-มีนาคม ๒๕๖๑, นำเข้าเมื่อ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๔, เอกสารอิเล็กทรอนิกส์, https://finearts.go.th/main/view/17457-โบราณสถานเมืองเพนียด-จังหวัดจันทบุรี

๑๖. Cœdès Georges. Etudes cambodgiennes. In: Bulletin de l'Ecole française d'Extrême-Orient. Tome 24, 1924. p. 352-358.

๑๗. R. C. Majumdar, อ้างแล้ว.

๑๘. Cœdès Georges, อ้างแล้ว และ การค้นพบ ‘จารึกขลุง’ จารึกในประเทศไทย, เอกสารอิเล็กทรอนิกส์, https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/525



คำสำคัญ : จันทบูร,เมืองเพนียด,จันทบุรี,ควนคราบุรี
วลัยลักษณ์ ทรงศิริ
อีเมล์: [email protected]
เจ้าหน้าที่วิชาการของมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ เริ่มทำงานกับมูลนิธิฯ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๗ ทำโครงการนำร่องร่วมสร้างพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นหลายแห่ง ก่อนทำงานศึกษาท้องถิ่นร่วมกับชาวบ้าน และปัจจุบันกลับมาสนใจศึกษางานโบราณคดี