เอกสารอ้างอิง (ต่อ)
มานิต วัลลิโภดม. (2516). ตำนานสิงหนวติกุมาร ฉบับสอบค้น. พิมพ์ครั้งแรก. คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ สำนักนายกรัฐมนตรี.
โพธิรังสี, พระ. แต่ง. (2473). จามเทวีวงษ์ พงษาวดารเมืองหริภุญไชย ทั้งภาบาฬีและคำแปล. เจ้าดารารัศมี พระราชชายา พิมพ์ในงานปลงศพเจ้าทิพเนตร อินวโรรสสุริยวงศ์ ปีวอก พ.ศ.2463. พระนคร: โสภณพิพรรณธนากร.
รุจยา อาภากร, ม.ร.ว. และนฤมล ธีรวัฒน์ (บก). (2551). มองพม่าผ่านชเวดากอง. เชียงใหม่: ซิลค์เวอร์ม.
เรณู วิชาศิลป์. (2550). พื้นเมืองแสนหวี ฉบับหอคำเมืองไหญ. พิมพ์ครั้งแรก. กรุงเทพ: ซิลค์เวอร์ม.
วินัย พงศ์ศรีเพียรและคณะ. (2564). ล้านนามหาปกรณัม ความทรงจำแห่งอภินว-ศรีหริภุญชัย ประวัติศาสตร์เพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 1. มหาวิทยาลัยศิลปากร นครปฐม.
วิวรรณ แสงจันทร์. (2567). รายงานการขุดค้นทางโบราณคดีเพื่อตรวจสอบความเป็นโบราณสถานม่อนป่าซางบ้านห้วยข่อย หมู่ที่ 3 ต.วังเหนือ อ.วังเหนือ จ.ลำปาง. เสนอสำนักศิลปากรที่ 7 เชียงใหม่.
วิสิฐ ตีรณวัฒฒนากูล. (2531). "การศึกษาเครื่องปั้นดินเผาจากแหล่งเตาเผากลุ่มเวียงกาหลง." วิทยานิพนธ์ตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์ ภาควิชาโบราณคดี บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สายันต์ ไพรชาญจิตร์, บรรณาธิการ. (2540). โบราณคดีล้านนา 1. สำนักงานโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติที่ 6 เชียงใหม่ กรมศิลปากร จัดพิมพ์เพื่อเป็นที่ระลึกร่วมเฉลิมฉลองในปีกาญจนาภิเษกและในวาระที่เมืองเชียงใหม่มีอายุครบ 700 ปี. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สมาพันธ์.
สำนักงานศิลปากรที่ 7 น่าน และองค์การบริหารส่วนตำบลลอ. (2547). รายงานเบื้องต้น การขุดค้นทางโบราณคดีเมืองโบราณเวียงลอ ตำบลลอ อำเภอจุน จังหวัดพะเยา. เอกสารอัดสำเนา.
สำนักศิลปากรที่ 7 เชียงใหม่. (2560). รายงานการขุดค้นทางโบราณคดี กำแพงเมืองคูเมืองเวียงพะเยา อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา. จัดทำโดยห้างหุ้นส่วนจำกัดบูรณาไท. เอกสารอัดสำเนา.
โสภณปริยัติสุธี (ศรีบรรดร ถิรธมฺโม), พระครู. (2552). ชื่อบ้าน ภูมิเมืองพะเยา. พิมพ์ครั้งที่ 2. พะเยา: เจริญอักษร.
นิตยสาร
กชกร นันทพันธ์. “แช่สักอยู่ที่ไหน.” ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 20 ฉบับที่ 5 มีนาคม 2542. กรุงเทพฯ: พิฆเนศ พรินติ้ง เซนเตอร์.
คำสำคัญ :