ดังนั้นโบราณสถานคอกช้างดินทั้ง ๔ แห่ง หรือ ๔ คอกนี้ น่าจะเป็นเขื่อนกักเก็บน้ำ หรือสระน้ำศักดิ์สิทธิ์ พื้นที่ในบริเวณนี้จึงเป็นเขตที่อยู่อาศัยและพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ เป็นที่ตั้งเทวาลัยเพื่อประกอบพิธีกรรมในศาสนาพราหมณ์ และเป็นที่อยู่อาศัยของนักบวช พราหมณ์ ผู้ปฏิบัติดูแลเทวสถานอีกด้วย
อ้างอิง
‘อาจารย์ศรีศักรพาเที่ยวอู่ทอง-สุวรรณภูมิ’ อาจารย์ศรีศักร วัลลิโภดม
‘ภูมิวัฒนธรรม และการจัดการน้ำในสมัยโบราณ: ทวารวดี - รัตนโกสินทร์’ อาจารย์ศรีศักร วัลลิโภดม
'ข้อมูลใหม่สุวรรณภูมิ พาเที่ยวที่อู่ทอง' อาจารย์ศรีศักร วัลลิโภดม
'โบราณคดีคอกช้างดิน' สำนักโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติที่ ๒ สุพรรณบุรี สำนักโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรมศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการ ปีพ.ศ. ๒๕๔๕
'โบราณคดีเมืองอู่ทอง' สำนักโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติที่ ๒ สุพรรณบุรี สำนักโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรมศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการ ปี พ.ศ. ๒๕๔๕
'รายงานการสำรวจและขุดแต่งโบราณวัตถุสถานเมืองเก่าอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี' กรมศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการ ปี พ.ศ. ๒๕๐๙
'การขุดแต่งโบราณสถานด้านทิศเหนือของคอกช้างดิน อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี' สมศักดิ์ รัตนกุล วารสารศิลปากร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๒ เดือนกรกฎาคม ปี พ.ศ. ๒๕๑๐
'เหรียญรูปสังข์บรรจุภายในภาชนะดินเผา จากโบราณสถานคอกช้างดินหมายเลข ๑๘ เมืองโบราณอู่ทอง' พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง
'ศาสนสถานและสิ่งก่อสร้างบนเทือกเขาศักดิ์สิทธิ์เมืองอู่ทอง: ผลการสำรวจ ทางโบราณคดีบนเขตภูเขานอกเมืองอู่ทอง พ.ศ. ๒๕๖๒' สุภมาศ ดวงสกุล และคณะ
คำสำคัญ :