แต่ต่อมาในสมัยสุโขทัยได้พบร่องรอยของการบริหารจัดการน้ำของราษฎร ซึ่งเป็นการสร้างเหมืองฝายใช้กันเองในท้องถิ่น เป็นที่น่าสังเกตว่าน้ำจะอยู่คู่กับสถานที่ศักดิ์สิทธิ์เสมอ ไม่ว่าเมืองนั้นจะตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้ำหรือที่ลาดเขา เช่น วัดตะพานหินตั้งอยู่ใกล้แหล่งน้ำสำคัญของสุโขทัย จะเห็นได้ว่าเมืองโบราณสร้างบ้านแปงเมืองเพื่ออยู่อาศัยโดยดูที่ภูมิทัศน์ และปรับวิถีชีวิตให้เข้ากับพื้นที่และธรรมชาติ
อ้างอิง
‘ภูมิวัฒนธรรม’ และการจัดการน้ำในสมัยโบราณ: ทวารวดี – รัตนโกสินทร์ โดยอาจารย์ศรีศักร วัลลิ-โภดม
'เขื่อนสรีดภงส์ ทำนบพระร่วง' ฐานข้อมูลแหล่งโบราณคดีที่สำคัญในประเทศไทย ศูนย์มานุษยวิทยา สิรินธร (องค์การมหาชน)
'เขื่อนสรีดภงส์ และแหล่งต้นน้ำในอดีต' อุทยานแห่งชาติรามคำแหง สำนักอุทยานแห่งชาติ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
'สรีดภงส์หรือทำนบพระร่วง' อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม
'การจัดการทรัพยากรน้ำ: ศึกษาเฉพาะกรณี เมืองประวัติศาสตร์สุโขทัย' โดย กชกร สุชาติเลิศปัญญา สำนักพัฒนาบัณฑิตศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ปี พ.ศ. ๒๕๔๒
'ระบบชลประทานสมัยสุโขทัย' กรมศิลปากร
'รูปแบบและการเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์ที่เกี่ยวข้องกับระบบชลประทานของเมืองโบราณสุโขทัย' ปุญชรัสมิ์ เอี่ยมประเสริฐกุล ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
'จารึกเมืองกำแพงเพชร พ.ศ. ๒๐๕๓: ๕๐๐ ปี ท่อปู่พระยาร่วง' สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คำสำคัญ :